
กีฬาทั่วโลกมีอะไรบ้าง ประวัติกีฬา บาสเกตบอล จุดเริ่มต้นของกีฬานี้ เกิดขึ้นที่ไหน ? ตอนแรกก่อนจะพัฒนา เคยมาการละเล่นแบบไหนบ้าง ?
กีฬาทั่วโลกมีอะไรบ้าง กีฬาบนโลกเราปัจจุบัน มีมากมายให้เลือกเล่น กีฬาสากลมีอะไรบ้าง ทั้งกีฬา ฟุตบอล , แบดมินตัน , Motor Sport , วอลเลย์บอล , เทนนิส , มวยไทย , มวยสากล , เทเบิ้ล เทนนิส ฯลฯ ที่ทุกกีฬา ต่างก็มีประวัติ ความเป็นมา ที่แตกต่างกัน
โดยในวันนี้ เราจะมานำเสนอ ประวัติกีฬา บาสเกตบอล ( Basketball ) ที่เรียกได้ว่า เป็นอีกหนึ่งชนิดกีฬา ที่ทุกๆคน จะต้องรู้จัก และอาจจะเคยเล่น มากันแล้วบ้าง โดยกีฬาชนิดนี้ มีต้นกำเนิดมาจาก เมือง แมซซาซูเสจช์ สหรัฐอเมริกา
โดยในปี ค.ศ. 1891 Dr. James A Naismith ครูสอนวิชา พละศึกษา ของมหาวิทยาลัย Y.M.C.A ได้รับมอบหมายจาก Dr. Gulick ให้คิดค้น กีฬาที่เหมาะที่จะเล่น ในฤดูหนาว เนื่องจาก กีฬากลางแจ้ง 20 ชนิด ยกตัวอย่างเช่น เบสบอล , อเมริกันฟุตบอล นั้นเล่นไม่ได้
โดย Dr. James นั้นได้คิดค้น และผสมผสาน กีฬาเบสบอล และ กีฬาอเมริกันฟุตบอล เข้าด้วยกัน โดยโจทย์คือ ต้องสามารถเล่น ในที่ร่มได้ และเล่นได้ ในทุกฤดูกาล เหมาะสำหรับทุกเพศ ทุกวัย
เริ่มต้นจาก ลูกฟุตบอล และ ตะกร้าเก็บลูกพีช ในตอนแรก ก่อนจะพัฒนามาเรื่อย ๆ จะเป็นกีฬา บาสเกตบอล ในปัจจุบัน
โดยแรกเริ่มของ กีฬาบาสเกตบอล นั้นเริ่มจาก การเอาลูกฟุตบอล และ ตะกร้าลูกพีช ในการเล่นครั้งแรก ซึ่งผู้คนก็ให้ความสนใจ กันอย่างล้นหลาม เพราะได้ทั้งความสนุก แถมยังคลายความหนาวได้ด้วย กีฬาทั่วโลกมีอะไรบ้าง
แต่ก็ยังคง ขาดความเป็นระเบียบ มีการกระทบกระทั่งกัน ผลักกัน ชนกัน เตะกัน อันเป็นการเล่น ที่ดูรุนแรง ต่อมา Dr. James ได้ตัดการเล่น ที่มีความรุนแรงออกไป โดยห้ามผู้เล่น ถูกเนื้อต้องตัวกัน โดยมีกฎใหญ่ๆ ออกมา 4 ข้อด้วยกันคือ
- ผู้เล่นที่ครอบครอง ลูกบาสเก็ตบอลอยู่ ต้องห้ามขยับไปไหน ต้องหยุดอยู่กับที่เท่านั้น
- ประตูจะต้องอยู่สูงกว่า ผู้เล่นทุกคน และต้องอยู่ขนานกับพื้น สูงกว่าพื้นประมาณ 10 ฟุต
- ผู้เล่นสามารถ จะครอบครองบอล นานเท่าไหร่ก็ได้ และผู้ที่มาแย่ง ห้ามถูกเนื้อต้องตัว ไม่งั้นจะเป็นการทำฟาวด์
- ห้ามผู้เล่นใช้ความรุนแรง ห้ามกระทบกระแทกกัน ทั้งผู้ที่ครอบครองบอล และผู้ที่มาแย่งบอล
โดยต่อมา ก็ได้มีการพัฒนา มาเรื่อยๆจนเป็นกีฬา บาสเก็ตบอลในปุจจุบันนั่นเอง
กีฬาทั่วโลกมีอะไรบ้าง สนามบาสเก็ตบอล มีความยาวเท่าไหร่ ? ความกว้างเท่าไหร่ ? กฎและกติกาปัจจุบัน เป็นอย่างไร ?
กีฬาทั่วโลกมีอะไรบ้าง โดยสนามบาสเก็ตบอล ตามมาตรฐานในปัจจุบันนั้น อยู่ที่ความกว้าง 15 เมตร และความยาว 28 เมตร โดยจะแบ่งเป็น ฝั่งละครึ่งสนาม มีเส้นตัดตรงกลาง ระหว่างทั้งสองทีม อย่างชัดเจน และมีขอบเส้นวงกลม สำหรับชู้ต 3 คะแนน และ เส้นเขตโทษ สำหรับไว้ชู้ตเมื่อมี ผู้เล่นทำฟาวด์
โดยต้องมีพื้นเรียบ แข็ง ไม่มีสิ่งกีดขวาง และมีแสงสว่างเพียงพอ เพดานต้องสูง จากพื้นอย่างน้อย 7 เมตร หรือมากกว่า เส้นแสดงเขต ต้องเป็นสีเดียวกัน และต้องมีความหนา 5 เซนติเมตร เท่ากันทุกเส้น
ในส่วนของ ลูกบาสเกตบอล นั้นจะต้องมี เส้นรอบวง 74.9 เซนติเมตร ถึง 78 เซนติเมตร นำหนักจะอยู่ที่ 567 ถึง 650 กรัม วัศดุที่ใช้ ทำจากหนัง หรือจากวัศดุสังเคราะห์ ลูกบาสเกตบอล จะได้ต้องมีกลีบ 8 ช่อง
กระดาษหลัง ( แป้นบาส ) จะต้องมีห่วง ที่ทำด้วยเหล็ก และมีขอบห่วงสีส้ม เหล็กต้องมีความหนา 1.7 ซม. – 2.0 ซม. และมีเส้นผ่าศูนย์กลางยาว 45 เซนติเมตร อยุ่สูงจากพื้น 3.05 เมตร
สำหรับผู้ที่อยากรู้ว่า กีฬาสากลมีอะไรบ้าง ก็เชิญติดตามในเว็บของเรา ได้เรื่อยๆเลยนะครับ
กติกาเบื้องต้น วิธีการเล่น ตำแหน่งของผู้เล่น ในสนามของแต่ละทีม รวมถึงการคิดคะแนน ของเกมกีฬา บาสเกตบอล
โดยกติกาเบื้องต้นนั้น ผู้เล่นตัวจริง จะต้องมี 5 คน และผู้เล่นสำรอง 7 คน โดยผู้เล่นในแต่ละทีม ต้องมีชุดแข่งสีเดียวกัน และหมายเลขเบอร์ ที่ชัดเจนของแต่ละบุคคล และห้ามใส่เครื่องประดับ ลงทำการแข่งขันโดยเด็ดขาด บทความกีฬาที่น่าสนใจ
โดย 5 ตัวจริงคนแรกนั้น จะแบ่งตำแหน่งออกเป็น 5 ตำแหน่ง มีดังนี้
- Center หรือ ผู้เล่นใต้แป้น ทำหน้าที่คอย รีบาวด์ให้เพื่อน เล่นใต้แป้นได้ดี โดยส่วนใหญ่จะเป็น คนที่ตัวใหญ่ หรือสูงมากๆ จะมาเล่นตำแหน่งนี้
- PF หรือ Power Forward ตำแหน่งนี้ จะเป็นตำแหน่ง ที่เล่นใต้แป้นได้ด้วย และชู้ตระยะกลางได้ด้วย ( Mid-Range ) และยิงสามแต้ม ในบางครั้ง
- SF หรือ Small Forward ตำแหน่งนี้จะเป็นผู้เล่น ที่คล่องตัวพอสมควร สามารถเล่นระยะกลาง ไกล และไดร์ฟเข้าไปเล่นใต้แป้นได้ด้วย
- SG หรือ Shooting Guard โดยในตำแหน่งนี้ จะเป็นผู้เล่นที่ชู้ตแม่น ทั้ง 2 และ 3 แต้ม และต้องจ่ายได้ดี ในระดับหนึ่ง
- PG หรือ Point Guard การ์ดจ่าย รับหน้าที่ถือบอลเป็นหลัก คุมเกม จ่ายแม่น และชู้ตสามแต้มเป็นบางครั้ง
โดยคะแนนที่นับนั้น ถ้ายิงนอกครึ่งวงกลม จะนับเป็น 3 แต้มทั้งหมด และในครึ่งวงกลม นับเป็น 2 แต้มทั้งหมด และลูกโทษจะนับเป็น 1 แต้ม
” Mischa Cheap “